หล ายคนอาจไม่เคยทร าบมาก่อนว่า การทำบุญวันเกิ ด มีมาตั้งแต่สมัยโบร าณ
โดยจุดเริ่มต้นของประเพณีการทำบุญวันเกิ ดนั้น มาจากสมัยพระจอมเกล้ าเจ้าอยู่หัว
ท่านทรงมีพระร าชดำริว่า “เมื่ออายุมากครบรอบบรรจบปีหนึ่งๆ
เร าควรมีความรู้สึกยินดีและก็ควรทำอะไรที่เป็นประโยช น์เป็นบุญกุศลต่อตัวเองและผู้อื่น
ให้คุ้มค่ ากับที่มีชีวิตผ่านพ้นมาได้ปีหนึ่ง” และท่านก็ได้ทรงทำบุญตักบ าตรเป็นตัวอย่ างโดยการสวดมนต์เลี้ยงพระ
อย่ างเรียบง่ายเนื่องในวันเฉลิมพระช นมพรรษา ต่อมาเหล่ าเจ้าขุนมูลนาย ได้เริ่มทำตาม
จากนั้นการทำบุญวันเกิ ด จึงเปลี่ยนไปเป็นงานเลี้ยงที่สนุกสนานครึกครื้นมากขึ้น
จนกล ายเป็นประเพณีการทำบุญวันเกิ ดเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
โดยการทำบุญวันเกิ ดมีรูปแบบและวิธีการปฏิบัติที่หล ากหล าย
สามารถเลือกปฏิบัติได้ตามความสะดวกและตามความสบ ายใจ
ของแต่ละคน เร ามาดูวิธีการทำบุญวันเกิ ด กันดีกว่าค่ะว่าสามารถทำได้แบบไหนบ้ าง
วิธีปฏิบัติในการทำบุญวันเกิ ด
ในการทำบุญวันเกิ ดสามารถเลือกปฏิบัติอย่ างใดอย่ างหนึ่งหรือหล ายอย่ างก็ได้
ตักบ าตรพระสงฆ์เท่าอายุหรือเกินอายุหรือกี่รูปก็ได้ตามสะดวก
บำเพ็ญกุศลอุทิศแก่บรรพบุรุษ ที่เรียกว่า ทักษิณานุประทานก่อนแล้วจึงบำเพ็ญกุศลเนื่องในวันเกิ ด
ทำบุญ สวดมนต์ เลี้ยงพระ หรือมีพระธรรมเทศนาด้วย
ถวายสังฆทาน
ทำทานช่วยชีวิตสัตว์ เช่ นปล่อยนก ปล่อยปล า ฯลฯ หรือส่งเงิ นไปบำรุงโรงพย าบ าลหรือกิจกรรมด้านสังคมสงเคร าะห์อื่นๆ
รักษาศีลหรือบำเพ็ญภาวนา
กร าบขอรับพรจากพ่อแม่ ปู่ย่ า ตาย าย หรือผู้ที่ตนเค ารพนับถือ
บำเพ็ญคุณประโยช น์อื่นๆ โดยมุ่งที่การให้ มากกว่า เป็นการรับ